ยินดีต้อนรับเข้าสู่ เว็บไซต์ เทศบาลตำบลหงส์หิน
ตราสัญลักษณ์
ประวัติความเป็นมา
อำนาจหน้าที่
วิสัยทัศน์และพันธกิจ
ตำนานเจ้าหงส์หิน
ค่าวหงส์หิน
โครงสร้างหน่วยงาน
คณะผู้บริหาร
สมาชิกสภาเทศบาล
สำนักปลัดเทศบาล
กองคลัง
กองช่าง
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
นโยบายคณะผู้บริหาร
กองยุทธศาสตร์และงบประมาณ
ภาษี
เทศบัญญัติ
ข้อมูลการติดต่อ
กฏหมายที่เกี่ยวข้อง
กระดานสนทนา
คู่มือหรือมาตรฐานการปฏิบัติงาน
คู่มือหรือมาตรฐานการให้บริการ
ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ
Link เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง
แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต
ช่องทางรับฟังความคิดเห็น
การมีส่วนร่วมของผู้บริหาร
แบบสอบถามความพึงพอใจ
รวมแหล่งท่องเที่ยวจังหวัดพะเยา
แผนพัฒนาท้องถิ่น
5 ปี
แผนดำเนินงานประจำปี
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาประจำปี
ข้อมูลพื้นฐาน
กลุ่มอาชีพ
ผลิตภัณฑ์ชุมชน
สถานที่น่าสนใจ
สายตรงถึงผู้บริหาร
แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
ผลงานและกิจกรรม
กิจการสภา
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงานประจำปีรอบ 6 เดือน
รายงานผลการดำเนินงานประจำปี
รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจในการให้บริการ
รายงานการกำกับติดตามการใช้จ่ายงบประมาณประจำปีรอบ 6 เดือน
รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
ประกาศ จัดซื้อจัดจ้าง
แผนการจัดซื้อจัดจ้างหรือแผนการจัดหาพัสดุ
สรุปผลการจัดซื้อ จัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุรายเดือน
รายงานผลการจัดซื้อ จัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุประจำปี
ตำนานพระธาตุหงส์หิน
ณ บ้านสักลอ ตำบลหงส์หิน อำเภอจุน จังหวัดพะเยา มีภูเขาชื่อ ดอยภูเรือ ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของหมู่บ้าน ภูเขามีรูปลักษณะคล้ายเรือท้องแบนคว่ำ ชาวบ้านจึงเรียกว่า ดอยเรือ บนดอยเรือมีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ (โบราณวัตถุ) สถิตอยู่ คือ หิน มีลักษณะคล้ายหงส์ ประชาชนพากันเคารพนับถือกันมาหลายชั่วอายุคน ถ้าปีไหนบ้านเมืองฝนฟ้าไม่ตกต้องตามฤดูกาล ชาวบ้านจะพากันไปกราบไหว้บูชาขอน้ำฝน ให้ตกลงมาถูกต้องตามฤดูกาลเป็นประจำ จนประชาชนในหมู่บ้านและหมู่บ้านใกล้เคียงต่างก็เคารพนับถือเป็นพระธาตุประจำตำบล เพื่อเป็นเกียรติแก่การเคารพสักการะต่อไป
ตามคำบอกเล่าจากผู้เฒ่า ผู้แก่ ว่าหินที่มีรูปลักษณะคล้ายหงส์ ที่ตั้งอยู่บนดอยเรือนั้น มีความเก่าแก่มาหลายร้อยปี ผู้เฒ่าได้เล่าให้ผู้เขียนฟังว่า รูปหงส์หินนี้เดิมทีมีรูปงดงาม มีหัว มีหาง มีปีกเหมือนหงส์มาก ต่อมาในปี พ.ศ. 2450 พระครูมหาหน่อแก้วกับท่านครูบาอภิชัย ซึ่งเป็นผู้ใหญ่ในตำบล ได้สร้างพระเจดีย์ขึ้นที่บนดอยแห่งนี้ โดยสร้างครอบรูปหงส์หินเพื่อจะให้พระธาตุศักดิ์สิทธิ์ แต่ก็ไม่สามารถทำให้เจดีย์ที่สร้างขึ้นสวยงามได้ จึงทุบเอาปีก หัว และหางของหงส์หินออก แล้วสร้างเจดีย์ครอบเอาไว้ ต่อมาบ้านเมืองเกิดฝนไม่ตกตามฤดูกาล บ้านเมืองแห้งแล้งเกิดฝนฟ้าคะนองมีฟ้าผ่าลงที่เจดีย์ทำให้พระเจดีย์แตกพังทลายหมด เหลือแต่รูปหินธรรมดา ไม่มีปีก หัว หางเหมือนเดิม ไว้ให้เราเห็นมาจนทุกวันนี้ นับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาบ้านเมืองก็อยู่เย็นเป็นสุขตลอดมา ต่อมาในปี พ.ศ. 2532 ได้มีพระอนันพุทธรรมโม วัดพระธาตุแสงแก้วมงคล อำเภอดอกคำใต้ จังหวัดพะเยา ได้มาสร้างอนุสาวรีย์ เจ้าพ่อหงส์หินโพธิสัตว์ไว้ทางทิศตะวันออกและสร้างรูปเจ้าหงส์หินและแม่เฒ่าขี่หลังหงส์หินอยู่ใกล้กับหินรูปหงส์เดิม เพื่อให้อนุชนรุ่นหลังไว้เป็นที่เคารพสักการะในโบราณสถานและโบราณวัตถุ สืบต่อไปชั่วกาลนาน
ประวัติ
เจ้าหงส์หินโพธิสัตว์
กาลครั้งหนึ่งพระราชาเจ้าเมืองพาราณสี มีอัครมเหสีชื่อนางวิมาลา และมีมเหสีรองอีกหกนาง ต่อมานางทั้งเจ็ดทรงครรภ์ แต่มเหสีรองทั้งหกคลอดโอรสก่อน โอรสในครรภ์วิมาลาเป็นพระโพธิสัตว์ เมื่อนางประสูติโอรสนั้น นางทั้งหกได้เอาโอรสไปทิ้งใต้ปราสาท แล้วเอาลูกสุนัขมาแสดงว่าเป็นลูกนางวิมาลาแทนแล้วไปทูลฟ้องพระยาพระยาได้ขับไล่นางวิลามาออจากเมืองกับลูกสุนัขไปอาศัยอยู่กับสองตายายที่สวฃดอกไม้นอกเมือง ฝ่ายพระอินทร์ทรงทราบเหตุ จึงเหาะมารับโอรสของนางวิมาลาไปเลี้ยงไว้บนสวรรค์ เมื่อพระโพธิสัตว์โตขึ้น พระอินทร์จึงเล่าความจริงให้ฟัง แล้วเนรมิตก้อนหินให้เป็นหงส์กับดาบวิเศษให้พระโพธิสัตว์ไปหานางวิมาลาที่สวนดอกไม้ ฝ่ายโอรสทั้งหกนั้นมีการเล่นสะบ้า โดยเอาทองคำมาทำลูกสะบ้าเล่นกันทุกวัน พระโพธิสัตว์รู้เรื่องก็อยากไปเล่นบ้างแต่ไม่มีสะบ้าทอง นางวิมาลาจึงไปเอาลูกสะบ้านิมแดงให้ลูกไปเล่นพนันโดยพนันกันว่าหากชนะก็มีสิทธิ์ได้สะบ้าทองคำ ถ้าแพ้จะยอมเป็นทาสของหกกุมาร ปรากฏว่าพระโพธิสัตว์ชนะ จึงได้สะบ้าทองคำไปให้มารดาและนำมาเลี้ยงดูกันอย่างมีความสุข
ที่เมืองพาราณสีมียักษ์ตนหนึ่งอาศัยอยู่นอกเมือง วันหนึ่งนางยักษ์ได้ดักจับกินคนที่ประตูเมืองซึ่งพระโพธิสัตว์เดินเข้าออก จึงใช้ดาบศรีกัญไชยที่พระอินทร์ให้ฟันคอยักษ์ตาย แล้วกลับไปโดยไม่บอกให้ใครทราบเรื่องนี้ วันรุ่งขึ้นกุมารทั้งหกเห็นพระโพธิสัตว์ไปเล่นสะบ้าตามปกติก็สงสัยจึงไต่ถามเมื่อทราบความจริงแล้ว กุมารทั้งหกขอร้องว่าอย่าบอกความจริงกับใคร โดยตกลงกันว่าทั้งหกกุมารเป็นผู้ฆ่ายักษ์ โดยพระโพธิสัตว์ได้รับทองเป็นรางวัล หกกุมารไปกราบทูลพระยาผู้เป็นบิดาว่าพวกตนเป็นผู้ฆ่ายักษ์ พระยาจึงให้จัดงานฉลองทำขวัญโอรสทั้งหกและประทานรางวัลพระยาผู้เป็นบิดาคิดว่าโอรสคนใดคนหนึ่งคงเป็นพระโพธิสัตว์ จึงสามารถฆ่ายักษ์ได้จึงใช้ทั้งหกกุมาร
ไปตามพระเจ้าย่าซึ่งเป็นพระมารดาของพระองค์ ที่พวกยักษ์ได้ลักพาตัวไปนานแล้ว แล้วคาดโทษว่าหากไม่สำเร็จก็จะถูกประหารชีวิต กุมารทั้งหกจึงไปขอร้องพระโพธิสัตว์ให้ไปด้วย พระโพธิสัตว์ขี่หงส์ไปรอที่ฝั่งแม่น้ำ หกกุมารและกองทัพข้ามไปไม่ได้จึงรออยู่ให้พระโพธิสัตว์ไปค้นหาพระองค์เดียว
พระโพธิสัตว์ขี่หงส์ไปจนพบปราสาทของพระยายักษ์ ซึ่งมีธิดาสาวสวยชื่อนางมุขวดี จึงได้นางเป็นชายาแล้วจึงลานางเพื่อเดินทางต่อไป จากนั้นก็ไปพบปราสาทของกุมภัณฑ์ซึ่งมีธิดางดงาม ชื่อนางจุฬคันธา และได้นางเป็นชายาด้วยอีกคน จากนั้นก็เดินทางต่อไปพบปราสาทพระยายักษ์ซึ่งมีธิดาสวยชื่อนางศรีจันทา และได้นางเป็นชายาคนที่สาม แล้วจึงลาจากนางไปอีกจนพบที่อยู่ของอมนุษย์ที่ลักพาพระเจ้าย่าไป วันนั้นพวกยักษ์ไม่อยู่ไปหาอาหาร พระโพธิสัตว์จึงพาพระเจ้าย่าขี่หงส์กลับไปทันทีเมื่อเดินทางมาถึงปราสาทของชายาทั้งสามพระโพธิสัตว์ ก็เรียกนางให้ตามไปที่ฝั่งแม่น้ำ นางทั้งสามก็ลาพระบิดา แล้วอธิฐานว่าหากได้เป็นชายาจริงแล้วขอให้ปราสาทเหาะตามไป ซึ่งทั้งสามปราสาทก็เหาะตามพระโพธิสัตว์ไปรออยู่ที่ฝั่งแม่น้ำตรงข้ามกองทัพหกกุมาร เมื่อได้ตัวเจ้าย่าแล้วกุมารทั้งหกก็รุมฆ่าพระโพธิสัตว์ แล้วยกทัพกลับเมือง นางชายาทั้งสามเห็นผิดสังเกตก็พากันออกไปค้นหาจนพบศพพระโพธิสัตว์ ทั้งสามนางต่างคร่ำครวญอาลัยรักเมื่อพระอินทร์เนรมิตเป็นหนุ่มมาลองใจนางว่าพวกนางจะมั่นคงในพระโพธิสัตว์หรือไม่ พวกนางตอบว่า นางจะเข้ากองไฟตายตามพระโพธิสัตว์ไป พระอินทร์จึงแสดงตัวแล้วช่วยชุบชีวิตพระโพธิสัตว์ให้ฟื้นคืนมา ต่างพากันกลับไปอยู่ร่วมกันกับตายาย และพระมารดาวิมาลาที่สวนดอกไม้
ฝ่ายพระเจ้าย่าไม่เห็นหลานคนที่พาตนหนีมาจากยักษ์ จึงทรงเป็นทุกข์ พระยาจึงตรัสถามจนได้ความจริงทั้งหมด จากนั้นจึงจัดงานฉลองสมโภชพระเจ้าย่า ซึ่งพระโพธิสัตว์ก็ได้ไปชมงานด้วย เมื่อพระเจ้าย่าเป็นพระโพธิสัตว์จึงให้บอกให้พระยาทราบความจริง แล้วจากนั้นพระยาให้คนไปจับมเหสีทั้งหก และราชบุตรไปประหารชีวิต พระยาทรงเสียพระทัยที่ได้ทำความผิดไปได้ให้เสนาจัดขบวนเกียรติยศไปรับนางวิมาลากลับเมือง และโปรดให้พระโพธิสัตว์ครองเมืองต่อไป
เจตจำนงสุจริตของผู้บริหาร
การมีส่วนร่วมของผู้บริหาร
งานบริหารทรัพยากรบุคคล
แผนอัตรากำลัง 3 ปี
ประชาสัมพันธ์งานบุคคล
นโยบายการบริหารงานบุคคล
แบบฟอร์มต่างๆ
แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต
ข้อมูลเชิงสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตประจำปี
ช่องทางแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริต
การประเมินความเสี่ยงการทุจริตประจำปี
การดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริต
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปีรอบ 6 เดือน
รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี
มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสในหน่วยงาน
การดำเนินการตามมาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสในหน่วยงาน
พ.ร.บ./พ.ร.ก.
กฎกระทรวง/ระเบียบฯ
ระเบียบกฏหมายอื่นๆ
ระเบียบ กฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับองค์กร
เทศบัญญัติเทศบาลเมืองน่าน
การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร
เว็บไซต์หาที่พัก
รายชื่อร้านอาหารรอบๆ เมืองน่าน
ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ
มาตรฐานการให้บริการ
รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจการให้บริการ
เว็บไซด์การฌาปนกิจสงเคราะห์ข้าราชการและบุคลากรท้องถิ่น
เว็บไซด์สหกรณ์ออมทรัพย์พนักงานเทศบาล
แบบฟอร์มเอกสารดาวน์โหลด/เอกสารการจดทะเบียนพานิชย์
©
NTwebsite.com
09-1880-7874
การแสดงผลบนหน้าเว็บไซต์จะสมบูรณ์ที่สุดในระบบ Google Chrome, Mozilla Firefox, Microsoft Internet Explorer 8 ขึ้นไป
หน้าแรก
I
ติดต่อเทศบาล